การบัญชี สำหรับผู้บริหาร


การบัญชีสำหรับผู้บริหาร

การบัญชีสำหรับผู้บริหาร


การบัญชีสำหรับผู้บริหาร

ความแตกต่าง บัญชีการเงิน VS บัญชีบริหาร
การบัญชีการเงิน คือ กระบวนการทางบัญชี ที่เกี่ยวกับการจัดเก็บรวบรวม และรายงานข้อมูลทางการเงิน ที่เกิดขึ้นในอดีตของกิจการ และนำเสนอตามนโยบายทางการบัญชี
การบัยชีบริหาร คือ เป็นข้อมูลที่ใช้ภายในกิจการ สำหรับผู้บริหารทุกระดับชั้น เป็นระบบเพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ วางแผนควบคุมสั่งการในการดำเนินงานในกิจกรรมต่างๆ

ปัจจัย หรือ สภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อธุรกิจ
ดูข้อมูลเพิ่มเติมในหน้า 6
1. เทคโนโลยี
2. การบริหารงาน
3. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม

บทบาทหน้าที่ของฝ่ายบริหาร
ดูข้อมูลเพิ่มเติมในหน้า 7
1. วางแผน
2. สั่งการและสร้างแรงจูงใจ
3. ควบคุม
4. ตัดสินใจ

การคำนวนค่าเสื่อมราคา

วิธีการ เส้นตรง (SL)
สูตรคำนวน ตัวอย่างที่ 3.4 หน้า 68
ค่าเสื่อมราคาต่อปี   = ราคาทุน - มูลค่าคงเหลือ
      	        __________________
      	        อายุการใช้งาน (ปี)

      	        = 300,000 - 30,000
      	        __________________
      	                5

      	        = 54,000 บาท/ปี
      	
คำนวนค่าเสื่อมราคา ตามวิธีเส้นตรง

วิธีการ ผลรวมจำนวนปี (SYD)
สูตรคำนวน
syd table syd

วิธีการ ยอดลดลงทวีคูณ (DDB)
สูตรคำนวน
table ddb

การเปรียบเทียบ และ สรุป
สูตรคำนวน
x

การคำนวนต้นทุนผสม 5 ขั้นตอน

1. หาจุดสูงสุด และ จุดต่ำสุด (ดูจากโจทย์)
ตัวอย่าง
ตัวอย่างที่ 6.3 หน้า 169
 เดือนจำนวนชั่วโมงต้นทุนรวม
จุดสูงสูด(max)พฤษภาคม90,000780,000
จุดต่ำสูด(min)มกราคม20,000290,000

2. หาต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (VC)
สูตรคำนวน
ตัวอย่างที่ 6.3 หน้า 170
ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = ต้นทุนสูงสูด - ต้นทุนต่ำสูด
_______________________
กิจกรรมสูงสุด - กิจกรรมต่ำสุด
VC = 780,000 - 290,000
_________________
90,000 - 20,000
VC = 7 บาท/ชั่วโมง

3. หาต้นทุน (VCQ) หาทั้ง MIN และ MAX เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
สูตรคำนวน
ตัวอย่างที่ 6.3 หน้า 170
ต้นทุนผันแปรรวม = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย x จำนวนชั่วโมง
= 7 x 20,000
= 140,000 บาท

4. หาต้นทุนคงที่ (FC)
สูตรคำนวน
ตัวอย่างที่ 6.3 หน้า 170
ต้นทุนรวม = ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนผันแปรรวม
TC = FC + VCQ
290,000 = FC + (7 x 20,000)
290,000 = FC + 140,000
FC = 290,000 - 140,000
FC = 150,000

5. การพยากรณ์
สูตรคำนวน
ตัวอย่างที่ 6.3 หน้า 170 สมมุติเพิ่มเป็น 25,000 ชม.
ต้นทุนคงที่ = (VC x Q) + FC (Q = จำนวนหน่วยใหม่)
TC = (7 x 25,000) + 150,000
TC = 175,000 + 150,000
TC = 325,000 บาท